วัด
พระอารามหลวง
14 วัด
วัดราษฎร์
413 วัด
สำนักสงฆ์
8 วัด
ที่พักสงฆ์
18 วัด
วัดร้าง
3 วัด
วัดทั้งหมด
456 วัด
ศาสนบุคคลไทย
พระภิกษุ
256 รูป
สามเณร
33 รูป
แม่ชี
9 รูป
ภิกษุณี
0 รูป
สามเณรี
0 รูป
ศิษย์วัด
0 คน
บุคคลทั่วไปชาย
5 คน
บุคคลทั่วไปหญิง
0 คน
ทั้งหมด
303 รูป/คน
ศาสนบุคคลต่างชาติ
พระภิกษุ
0 รูป
สามเณร
0 รูป
แม่ชี
0 รูป
ภิกษุณี
0 รูป
สามเณรี
0 รูป
ศิษย์วัด
0 คน
บุคคลทั่วไปชาย
0 คน
บุคคลทั่วไปหญิง
0 คน
ทั้งหมด
0 รูป/คน
สถิติสถานภาพพระภิกษุปัจจุบัน
พระบวชใหม่
215 รูป
ลาสิกขา
9 รูป
มรณภาพ
3 รูป
รายชื่อวัด
ที่สามารถเข้าระบบได้ล่าสุด
จ. สุพรรณบุรี
วันที่ 14-03-2567
จ. ราชบุรี
วันที่ 24-02-2567
จ. เชียงราย
วันที่ 13-02-2567
จ. สิงห์บุรี
วันที่ 13-02-2567
จ. พิษณุโลก
วันที่ 13-02-2567
จ. พิจิตร
วันที่ 29-01-2567
จ. อุบลราชธานี
วันที่ 25-01-2567
จ. เชียงราย
วันที่ 13-01-2567
จ. สุพรรณบุรี
วันที่ 15-11-2566
QR Code วัดโตนดหลวง
รหัสวัด :
02760402001
ชื่อวัด :
วัดโตนดหลวง
นิกาย :
มหานิกาย
ประเภทวัด :
วัดราษฎร์
วันตั้งวัด :
ปี 2360
วันรับวิสุงคามสีมา :
ปี 2380
ที่อยู่ :
ม.9
เลขที่ :
-
หมู่ที่ :
-
ซอย :
-
ถนน :
-
แขวง / ตำบล :
บางเก่า
เขต / อำเภอ :
ชะอำ
จังหวัด :
เพชรบุรี
ไปรษณีย์ :
76120
เนื้อที่ :
- ไร่
- งาน
- ตารางวา
คุณสมบัติวัด :
เป็นวัดท่องเที่ยว
จำนวนเข้าดู :
8174
ปรับปรุงล่าสุด :
2 มิถุนายน พ.ศ. 2561 09:08:24
ข้อมูลเมื่อ :
2 มิถุนายน พ.ศ. 2561 09:08:24
 
 
 
 
วัดโตนดหลวง วัดโตนดหลวงตั้งอยู่ในหมู่บ้านโตนดหลวง หมู่ที่9 ต.บางเก่า อ.ชะอำ จ.เพชรบุรีเป็นวัดโบราณสันนิษฐานว่า ก่อสร้างขึ้นราวปลายสมัยอยุธยา หรือต้นรัตนโกสินทร์ ไม่ปรากฏว่าใครเป็นผู้สร้าง แต่มีหลักฐานที่เห็นอยู่ปัจจุบัน คือ พระอุโบสถมีลักษณะคล้ายเรือสำเภา มีประตูเดียวหันหน้าไปทางทศตะวันออก มีหน้าต่าง 2 บาน อุโบสถลักษณะนี้นั้น เป็นรูปลักษณะศิลปะในสมัยอยุธยา และเรียกอุโบสถลักษณะนี้ว่า “อุโบสถมหาอุด” วัดโตนดหลวง มีตำนานเล่าขานซึ่งจะขอยกเป็นตัวอย่างดังนี้ ในหนังสือประวัติสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณสมเด็จพระสังฆราช ที่พิมพ์แจกในงานฌาปนกิจศพ คุณแม่อรพินท์ สังข์กังวาน และคุณน้าผิว คล้ายปาน ณ เมรุวัดหัวรำโพง กทม. วันจันทร์ที่ 24 พฤษภคม 2529 ได้กล่าวไว้ในหน้าที่ 5 บรรทัดที่ 5 เมื่อเสียกรุงครั้งหลังในปีวอก พ.ศ.2310 สมเด็จพระสังฆราชท่านอายุเพียง 6 ขวบเท่านั้น มารดาได้พาหลบหนีภัยสงครามมาอยู่ที่เมืองเพชรบุรี ต่อมาเมื่อพระเจ้าตากสินมหาราช ได้ทรงกอบกู้บ้านเมืองขึ้นมาในปีนั้น ท่าน(สมเด็จพระสังฆราช) จึงได้บรรพชา เป็นสามเณรที่วัดโตนดหลวง แขวงชะอำ เมืองเพชรบุรี ในระหว่างนั้นท่านได้ศึกษาพระปริยัติธรรมไปตามกาลสมัย และได้เดินทางขึ้นลงระหว่างกรุงศรีอยุธยากับเมืองเพชรบุรีอยู่เสมอ จนกระทั้งอายุครบอุปสมบท ได้ทำการอุปสมบทที่วัดยาง แขวงบ้านหม้อ เมืองเพชรบุรี และจำพรรษาที่วัดยาง 2-3 พรรษา แล้วจึงเดินทางเข้าศึกษาพระธรรมบาลีที่กรุงศรีอยุธยา ถึงแม้ขณะนั้นเมืองหลวงได้ย้ายเข้าอยู่ที่กรุงธนบุรีแล้วก็ตาม แต่ภาระพระศาสนานั้นยังเป็นหลักอยู่ที่กรุงศรีอยุธยา มีข้อความตอนหนึ่งในหนังสืองานราตรีสหภูมิเพชรบุรี ลงวันที่ 15 กันยายน 2527 ได้กล่าวไว้ว่า โตนดหลวงเป็นตำบล เป็นตำบลที่สำคัญที่ขนาดพระบาทมเด็จพระนเรศวรมหาราช สร้างพระตำหนักพักแรม เช่นนี้ ก็น่าจะเป็นหมู่บ้านที่มีความเจริญพอสมควร เมื่อเป็นเช่นนี้วัดโตนดหลวงก็น่าจะมีอยู่แล้ว เพราะว่าคนไทยเราเมื่อตั้งบ้านเรือนเป็นชุมชน ก็จะสร้างวัดขึ้นด้วย วัดโตนดหลวงก็น่าจะมีมาตั้งแต่ พ.ศ. 2146หรือก่อนหน้านั้น แต่มาพบหลักฐานทะเบียนวัดที่อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี ได้บันทึกไว้ว่า ประกาศตั้งวัดโตนดหลวงเมื่อ พ.ศ. 2146 หรือก่อนหน้านั้น แต่มาพบหลักฐานทะเบียนวัดที่ อำเภอชะอำจังหวัดเพชรบุรี ได้บันทึกไว้ว่า ประกาศตั้งวัดโตนดหลวง เมื่อ พ.ศ. 2360 และได้รับวิสุงคามสีมาเมื่อ พ.ศ. 2380 แต่วันเดือนไม่ปรากฏ สำหรับเจ้าอาวาสวัดโตนดหลวงตั้งแต่อดีต ตั้งแต่เริ่มสร้างวัดนี้มีกี่รูปแล้วไม่มีหลักฐานหรือบันทึกไว้ แต่เท่าที่มีหลักฐานจากคำบอกล่าของ คุณพ่อพุ่ม คุณแม่เนียมว่าลำดับ เจ้าอาวาสปกครองวัดมาตั้งแต่ พ.ศ. 2412 จนถึงปัจจุบันมีดังนี้ พ.ศ. 2412-2430 หลวงพ่อผลัด พ.ศ. 2430-2457 หลวงพ่อเทียน พ.ศ. 2457-2500 พระครูพินิจสุตคุณ (หลวงพ่อทองสุข อินฺทโชโต) พ.ศ. 2500-2538 พระครูภาวนาวัชโรภาส (หลวงพ่อแผ่ว ปณฺฑิโต) พ.ศ. 2538-ปัจจุบัน พระครูพิพัฒน์นพกิจ (หลวงพ่อย้อน ธมฺมวํโส)