วัด
พระอารามหลวง
14 วัด
วัดราษฎร์
413 วัด
สำนักสงฆ์
8 วัด
ที่พักสงฆ์
18 วัด
วัดร้าง
3 วัด
วัดทั้งหมด
456 วัด
ศาสนบุคคลไทย
พระภิกษุ
256 รูป
สามเณร
33 รูป
แม่ชี
9 รูป
ภิกษุณี
0 รูป
สามเณรี
0 รูป
ศิษย์วัด
0 คน
บุคคลทั่วไปชาย
5 คน
บุคคลทั่วไปหญิง
0 คน
ทั้งหมด
303 รูป/คน
ศาสนบุคคลต่างชาติ
พระภิกษุ
0 รูป
สามเณร
0 รูป
แม่ชี
0 รูป
ภิกษุณี
0 รูป
สามเณรี
0 รูป
ศิษย์วัด
0 คน
บุคคลทั่วไปชาย
0 คน
บุคคลทั่วไปหญิง
0 คน
ทั้งหมด
0 รูป/คน
สถิติสถานภาพพระภิกษุปัจจุบัน
พระบวชใหม่
215 รูป
ลาสิกขา
9 รูป
มรณภาพ
3 รูป
รายชื่อวัด
ที่สามารถเข้าระบบได้ล่าสุด
จ. สุพรรณบุรี
วันที่ 14-03-2567
จ. ราชบุรี
วันที่ 24-02-2567
จ. เชียงราย
วันที่ 13-02-2567
จ. สิงห์บุรี
วันที่ 13-02-2567
จ. พิษณุโลก
วันที่ 13-02-2567
จ. พิจิตร
วันที่ 29-01-2567
จ. อุบลราชธานี
วันที่ 25-01-2567
จ. เชียงราย
วันที่ 13-01-2567
จ. สุพรรณบุรี
วันที่ 15-11-2566
QR Code วัดหนองแจง
รหัสวัด :
02760401007
ชื่อวัด :
วัดหนองแจง
นิกาย :
มหานิกาย
ประเภทวัด :
วัดราษฎร์
วันตั้งวัด :
วันที่ 19 เดือน พฤศจิกายน ปี 2527
วันรับวิสุงคามสีมา :
วันที่ 04 เดือน มกราคม ปี 2552
ที่อยู่ :
-
เลขที่ :
308/2
หมู่ที่ :
-
ซอย :
-
ถนน :
-
แขวง / ตำบล :
ชะอำ
เขต / อำเภอ :
ชะอำ
จังหวัด :
เพชรบุรี
ไปรษณีย์ :
76120
เนื้อที่ :
9 ไร่
2 งาน
84 ตารางวา
มือถือ :
0895484229
โทรศัพท์ :
032433101
คุณสมบัติวัด :
เป็นสำนักปฏิบัติธรรม
จำนวนเข้าดู :
3447
ปรับปรุงล่าสุด :
23 กรกฎาคม พ.ศ. 2561 10:48:52
ข้อมูลเมื่อ :
2 มิถุนายน พ.ศ. 2561 09:08:24
 
 
 
 
เดิมทีที่ตั้งวัดหนองแจงนี้เป็นป่าช้ามาก่อนซึ่งเมื่อปี พ.ศ.๒๕๑๖ พระครูฌานาภิรัต (อดีตเจ้าอาวาสวัดหนองแจง) ท่านได้ธุดงค์มาปักกลดในบริเวณใกล้ๆ ป่าช้านี้ และเมื่อโยมโกย เรืองอร่ามและโยมมาก เสือสง่า รู้ว่ามีพระมาปักกลดอยู่จึงได้มาพูดคุยกับท่าน และท่านได้ถามว่าแถวนี้มีที่ว่างๆ บ้างมั๊ย ท่านจะสร้างสำนักสงฆ์ และโยมทั้งสอง ก็ได้พาท่านมาดูที่บริเวณป่าช้านี้ ท่านก็เลยเลือกที่ป่าช้านี้เพื่อสร้างสำนักสงฆ์   ซึ่งโยมทั้งสองคนได้ตัดต้นไผ่ปลูกเพิงพักอาศัยให้ท่าน และท่านได้ให้ปัจจัย ๒๐๐ บาท เพื่อซื้อหญ้าแฝกมาทำหลังคา ก็ได้สร้างกุฏิที่เป็นไม้ไผ่ได้หนึ่งหลัง โดยมีห้องด้านข้าง ๆ ละสองห้อง ส่วนตรงกลางเป็นที่ฉันข้าว โยมทั้งสองได้นิมนต์ให้ท่านอยู่ตลอดไป เพราะเมื่อก่อนนี้บ้านหนองแจงไม่มีวัดที่อยู่ใกล้ๆ เลย อย่างที่ใกล้ที่สุดก็ประมาณ ๔-๕ ก.ม. และสมัยนั้นทั้งรถราถนนหนทางก็มีไม่มากเหมือนปัจจุบันนี้ ฉะนั้นชาวบ้านที่ต้องการทำบุญตามประเพณี หรือประกอบศาสนกิจที่จำเป็นก็ต้องหารถไปนิมนต์พระและรับส่งพระซึ่งเป็นเรื่องสำคัญ เพราะรถไม่ได้หาง่ายๆเหมือนในปัจจุบันนี้
                        ต่อมาคุณอำภา และคุณแสวง ได้ชักชวนชาวบ้านที่เพชรบุรีมาสร้าง หอฉัน หอสวดมนต์ โรงครัว และสร้างโบสถ์  และที่บริเวณป่าช้านั้นไม่เพียงพอที่จะขอจัดตั้งให้เป็นวัดได้คุณแม่ทัย กรองแก้ว จึงได้บริจาคเพิ่มเติมให้ซึ่งก็คือบริเวณฌาปนสถานในปัจจุบันนี้ และนางสมพงษ์ เทศลาภ ได้ขอเป็นวัดเมื่อวันที่ ๑๙  พฤศจิกายน พ.ศ.  ๒๕๒๗ และทำการปิดทองฝังลูกนิมิตในปี พ.ศ. ๒๕๒๘ ซึ่งพระครูฌานาภิรัตท่านก็ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นเจ้าอาวาสวัดหนองแจงในปีนี้ด้วย ต่อมาวันที่  ๔  มกราคม  พ.ศ. ๒๕๒๙ ก็ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา
                        วันที่  ๖  กุมภาพันธ์  พ.ศ. ๒๕๔๓ ท่านพระครูฌานาภิรัตได้มรณภาพ และต่อมาพระสมชาย กาลวิชโย (ปัจจุบันคือพระครูอุปถัมภ์วัชรากร เจ้าอาวาสองค์ปัจจุบัน) ท่านได้รับการแต่งตั้งให้เป็นผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาสและได้รับการแต่งตั้งให้เป็นเจ้าอาวาสวัดหนองแจงในวันที่  ๙  ธันวาคม  พ.ศ. ๒๕๔๗ ท่านก็ได้ทำการพัฒนาวัดเพื่อสร้างความเจริญให้กับวัดและท้องถิ่นเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน
ยังไม่มีข้อมูลพระ