วัด
พระอารามหลวง
14 วัด
วัดราษฎร์
413 วัด
สำนักสงฆ์
8 วัด
ที่พักสงฆ์
18 วัด
วัดร้าง
3 วัด
วัดทั้งหมด
456 วัด
ศาสนบุคคลไทย
พระภิกษุ
256 รูป
สามเณร
33 รูป
แม่ชี
9 รูป
ภิกษุณี
0 รูป
สามเณรี
0 รูป
ศิษย์วัด
0 คน
บุคคลทั่วไปชาย
5 คน
บุคคลทั่วไปหญิง
0 คน
ทั้งหมด
303 รูป/คน
ศาสนบุคคลต่างชาติ
พระภิกษุ
0 รูป
สามเณร
0 รูป
แม่ชี
0 รูป
ภิกษุณี
0 รูป
สามเณรี
0 รูป
ศิษย์วัด
0 คน
บุคคลทั่วไปชาย
0 คน
บุคคลทั่วไปหญิง
0 คน
ทั้งหมด
0 รูป/คน
สถิติสถานภาพพระภิกษุปัจจุบัน
พระบวชใหม่
215 รูป
ลาสิกขา
9 รูป
มรณภาพ
3 รูป
รายชื่อวัด
ที่สามารถเข้าระบบได้ล่าสุด
จ. สุพรรณบุรี
วันที่ 14-03-2567
จ. ราชบุรี
วันที่ 24-02-2567
จ. เชียงราย
วันที่ 13-02-2567
จ. สิงห์บุรี
วันที่ 13-02-2567
จ. พิษณุโลก
วันที่ 13-02-2567
จ. พิจิตร
วันที่ 29-01-2567
จ. อุบลราชธานี
วันที่ 25-01-2567
จ. เชียงราย
วันที่ 13-01-2567
จ. สุพรรณบุรี
วันที่ 15-11-2566
หลวงพ่อใหญ่ทันใจ

พระพุทธรูปองค์แรกในสำนัก
ตำราในพระพุทธศาสนากำหนดว่า พระเจดีย์ หรือ เจดีย์ มี 4 ประเภท [1]

  1. ธาตุเจดีย์ สิ่งก่อสร้างบรรจุพระบรมธาตุของพระพุทธเจ้า พระมหากษัตริย์พระปรินิพพาน
  2. บริโภคเจดีย์ สังเวชนียสถานอันเป็นสถานที่ประสูติ ตรัสรู้ ปฐมเทศนา และปรินิพพาน ของพระพุทธเจ้า
  3. ธรรมเจดีย์ คาถาที่แสดงพระอริยสัจ หรือ คัมภีร์ในพระพุทธศาสนา เช่น พระไตรปิฎก
  4. อุเทสิกะเจดีย์ ของที่สร้างขึ้นโดยเจตนาอุทิศแด่พระพุทธเจ้า ไม่กำหนดว่าจะต้องทำเป็นอย่างไร เช่น สร้างบัลลังก์ให้หมายแทนพระพุทธองค์

การที่เจดีย์มีความหมายครอบคลุมอย่างกว้างขวางดังที่กล่าวข้างต้น จึงพ้องกับความหมายของคำว่า สถูป ที่บ่งบอกถึงสิ่งก่อสร้างเหนือหลุมฝังศพ หรือสร้างเพื่อบรรจุอัฐิธาตุ ด้วยเหตุนี้ สถูปจึงใช้แทนเจดีย์เป็นเช่นนี้ในประเทศอินเดียสมัยโบราณมาแล้ว[2]

ในสมัยสุโขทัย คำว่าสถูปและเจดีย์ใช้ควบคู่กัน ดังปรากฏในจารึกบางหลัก เช่น พระยามหาธรรมราชา ก่อ พระธาตุ หรือกล่าวถึง พระศรีรัตนมหาธาตุ ซึ่งล้วนมีความหมายเดียวกับเจดีย์ แม้ในปัจจุบันนักวิชาการก็ยังเรียกพระสถูปเจดีย์เป็นคำคู่[3]

พระราชพงศาวดาร ฉบับหลวงประเสริฐฯ เขียนขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2223 กล่าวถึงสมัยต้นกรุงศรีอยุธยาในรัชกาลสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1 โปรดเกล้าฯ ให้สถาปนา พระศรีรัตนมหาธาตุ[4] ซึ่งย่อมหมายถึงพระเจดีย์ทรงปรางค์ องค์ที่เป็นประธานของวัดมหาธาตุ ซึ่งปัจจุบันยอดทลายลงแล้ว[5]

ทางภาคเหนือ มีเอกสารเขียนขึ้นในพุทธศตวรรษที่ 18 ได้ใช้คำว่า พระธาตุทรงปราสาท และมีการใช้คำว่า พระธาตุ เช่น พระธาตุดอยสุเทพ พระธาตุลำปางหลวง พระธาตุหริภุญชัย[6]

ทางภาคอีสาน มีคำว่า พระธาตุ เช่น พระธาตุพนม พระธาตุเชิงชุม พระธาตุศรีสองรักษ์[7]

ทางภาคใต้ มีคำเรียกว่า พระบรมธาตุ เช่น พระบรมธาตุไชยา พระบรมธาตุนครศรีธรรมราช[8]

ส่วนคำว่า กู่ ก็หมายถึงสถูป หรือ เจดีย์ด้วยเช่นกัน มีที่ใช้ทางภาคเหนือ[9] เช่น กู่เจ้านายวัดสวนดอก ทางภาคอีสานก็มี[10] เช่น ปราสาทปรางค์กู่ ปรางค์กู่ กู่พระสันตรัตน์ กู่กาสิงห์ ยังมีที่ใช้ในประเทศพม่า ซึ่งหมายถึงเจดีย์แบบหนึ่งด้วย[11]

การสร้างเจดีย์นอกจากจะมีความหมายดังกล่าวข้างต้นแล้ว ยังมีประเพณีบรรจุสิ่งของมีค่า รวมทั้งพระพิมพ์จำนวนมาก ไว้ในกรุขององค์เจดีย์ ซึ่งมีนัยว่าเป็นการสืบทอดพระศาสนา[12]

ที่อยู่ :
ต.หนองกะท้าว อ.นครไทย จ.พิษณุโลก
จำนวนเข้าดู :
435
ปรับปรุงล่าสุด :
17 พฤษภาคม พ.ศ. 2563 08:58:10
ข้อมูลเมื่อ :
17 พฤษภาคม พ.ศ. 2563 08:58:10