วัด
พระอารามหลวง
14 วัด
วัดราษฎร์
413 วัด
สำนักสงฆ์
8 วัด
ที่พักสงฆ์
18 วัด
วัดร้าง
3 วัด
วัดทั้งหมด
456 วัด
ศาสนบุคคลไทย
พระภิกษุ
256 รูป
สามเณร
33 รูป
แม่ชี
9 รูป
ภิกษุณี
0 รูป
สามเณรี
0 รูป
ศิษย์วัด
0 คน
บุคคลทั่วไปชาย
5 คน
บุคคลทั่วไปหญิง
0 คน
ทั้งหมด
303 รูป/คน
ศาสนบุคคลต่างชาติ
พระภิกษุ
0 รูป
สามเณร
0 รูป
แม่ชี
0 รูป
ภิกษุณี
0 รูป
สามเณรี
0 รูป
ศิษย์วัด
0 คน
บุคคลทั่วไปชาย
0 คน
บุคคลทั่วไปหญิง
0 คน
ทั้งหมด
0 รูป/คน
สถิติสถานภาพพระภิกษุปัจจุบัน
พระบวชใหม่
215 รูป
ลาสิกขา
9 รูป
มรณภาพ
3 รูป
รายชื่อวัด
ที่สามารถเข้าระบบได้ล่าสุด
จ. สุพรรณบุรี
วันที่ 14-03-2567
จ. ราชบุรี
วันที่ 24-02-2567
จ. เชียงราย
วันที่ 13-02-2567
จ. สิงห์บุรี
วันที่ 13-02-2567
จ. พิษณุโลก
วันที่ 13-02-2567
จ. พิจิตร
วันที่ 29-01-2567
จ. อุบลราชธานี
วันที่ 25-01-2567
จ. เชียงราย
วันที่ 13-01-2567
จ. สุพรรณบุรี
วันที่ 15-11-2566
QR Code วัดชายนา
รหัสวัด :
02760505003
ชื่อวัด :
วัดชายนา
นิกาย :
ธรรมยุต
ประเภทวัด :
วัดราษฎร์
วันตั้งวัด :
วันที่ 26 เดือน พฤศจิกายน ปี 2512
วันรับวิสุงคามสีมา :
วันที่ 16 เดือน กรกฎาคม ปี 2513
ที่อยู่ :
บ้านชายนา
เลขที่ :
62
หมู่ที่ :
หมู่ 2
ซอย :
-
ถนน :
-
แขวง / ตำบล :
บ้านในดง
เขต / อำเภอ :
ท่ายาง
จังหวัด :
เพชรบุรี
ไปรษณีย์ :
76130
เนื้อที่ :
๑๐ ไร่
- งาน
๘๐ ตารางวา
จำนวนเข้าดู :
3414
ปรับปรุงล่าสุด :
2 มิถุนายน พ.ศ. 2561 09:08:24
ข้อมูลเมื่อ :
2 มิถุนายน พ.ศ. 2561 09:08:24
 
 
 
 
​ประวัติวัดชายนา
วัดชายนา ตั้งอยู่ เลขที่ ๖๒ หมู่ ๒ ต.บ้านในดง อ.ท่ายาง จ.เพชรบุรี มีเนื้อที่ ๑๐ ไร่ ๘๐ ตารางวาสังกัด ธรรมยุติกนิกาย
- ทิศตะวันออกติดกับ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านในดง องค์การบริหารส่วนตำบล
- ทิศตะวันตกติดกับ ที่ดินของนายเอื่อม พูลสวัสดิ์
- ทิศเหนือซึ่งเป็นด้านทางเข้าติดกับถนนลาดยางสายเพชรเกษม- หนองจอก
- ทิศใต้ติดกับที่ดินของนายปัญญา ขวัญเมือง
   เริ่มบุกเบิกก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๐๔-๒๕๐๕ได้รับอนุญาตให้สร้างวัดเมื่อ วันที่พฤหัสบดีที่๑๘พฤศจิกายน พ. ศ.๒๕๐๘แรม ๑๐ค่ำเดือน ๑๒ ปี มะเส็ง ลงนามโดย พันเอกปิ่น มุทุกันต์ อธิบดีกรมการศาสนา ได้อนุญาต ให้ตั้งนาม วัดชายนา ประกาศ ณ วันพุธที่ ๒๖ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๑๒แรม ๓ค่ำเดือน ๑๒ ปีระกา ลงนาม โดย พลเอกกฤษณ์  สิวะรา รัฐมนตรีช่วยว่าการ ทำการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
   วางศิลาฤกษ์พระอุโบสถ เมื่อวันพุธที่๔ พฤษภาคม ปี พ.ศ. ๒๕๐๙ขึ้น ๑๕ค่ำ เดือน๖ปีมะเมียจ.ศ.๑๓๒๗ ร.ศ.๑๘๕พระราชสุทธิโมลี เจ้าคณะจังหวัด ธรรมยุต วางศิลาฤกษ์ พระครูโสภิตธรรมาภรณ์(ทอง) ประธาน นาย กำนันคำ ทองทา กรรมการ
   ได้รับพระราชทาน วิสุงคามสีมาประกาศ ณ  วันพฤหัสที่ ๑๖ กรกฎาคม  พ.ศ. ๒๕๑๓ ขึ้น ๑๓ ค่ำ เดือน ๘ปีจอ รับสนองพระบรมราชโองการ โดย ลงนาม จอมพลถนอม  กิตติขจร นายกรัฐมนตรี
นำไฟฟ้ามาใช้ในวัด ปี พ.ศ.๒๕๑๔จากแหล่งจ่ายไฟฟ้าท่ายาง
หล่อพระประธานในวันอาทิตย์ ที่๒๗ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๑๕ขึ้น๔ ค่ำเดือน๔ปีกุลจ.ศ.๑๓๓๓ร.ศ. ๑๙๑ทำเหรียญรูปพระครูโสถิตธรรมาภรณ์(ทอง)เต็มองค์ เป็นที่ระลึก
นำขึ้นประดิษฐ์สถานเมื่อ ประมาณ พ.ศ.๒๕๑๗ในพรรษา
ทำเหรียญแจกในงานฉลองสมณะศักดิ์พระครูบวรกิจโกศลเมื่อวันเสาร์ที่๑๕ กุมภาพันธ์ พ. ศ.๒๕๑๘ขึ้น ๕ ค่ำ เดือน ๔ ปีขาล
     ผูกพันธสีมา เมื่อวันพุธที่ ๑๐ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๒๕แรม ๑ ค่ำเดือน ๔ปีระกา จ. ศ.๑๓๔๒ ร.ศ. ๒๐๐  อ่านพระบรมราชโองการ พระราชทานวิสุงคามสีมา โดย  นายบุญมา  โมลี  ศึกษาธิการ อำเภอท่ายาง
นาย ชัด รัตนราช ผู้ว่าราชการจังหวัดเพชรบุรี  ประธานฆราวาส
พระพุทธจนวราภรณ์ (ทองเจือ) วัดราชบพิธสถิตสีมาราม เจ้าคณะ ภาค ๑๔-๑๕ ธรรมยุต  ประธานฝ่ายสงฆ์ ตัดหวายวางลูกนิมิต เวลา ๑๓.๕๙ น. ถึง ๑๔.๔๔น. ครบจำนวนเสร็จพิธี
พื้นที่ก่อตั้ง วัดชายนา
ชาวบ้านจากหมู่บ้านในดง ซึ่งแต่เดิมขึ้นตรงกับหมู่๘ตำบลบางปลาเค้า ได้เดินทางมาหา นิมนต์พระไปสร้างวัดและอยู่จำพรรษา ณ ที่ว่างเปล่า ซึ่งเดิมคือป่าช้าเก่าของหมู่บ้านในดง ได้รับการบุกเบิกหักร้างถางพง โดยหลวงพ่อตัด ปวโร พร้อมด้วยชาวบ้าน ต.บ้านในดง และญาติโยมผู้มีจิตศรัทธา เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๐๕ พื้นที่แปลงนี้อยู่ในความดูแลของอดีตกำนัน คำ ทองทา ถวายไว้เพื่อให้สร้างวัด  เพราะการเดินทางไปวัดทำบุญ, ฟังเทศน์, ฟังธรรม ของชาวบ้านในดงสมัยนั้นลำบากมากถนนหนทางไม่มีอย่างที่เป็นหรอกครับ ต้องเดินตามทางเกวียน ทางลูกรังซึ่งเป็นหลุมเป็นบ่อ วัดที่ใกล้ที่สุดคือ วัดบรรพตาวาส(เขากระจิว) แต่ก็ยังลำบากต่อการเดินทางอยู่ดี เมื่อ มีชาวบ้านมานิมนต์ หลวงพ่อทอง ก็เรียกประชุมพระลูกวัดรวมทั้งหลวงพ่อตัดด้วย เพื่อ
ถามความสมัครใจ แต่ก็ไม่มีผู้ใดออกไปอยู่ เพราะเป็นถิ่นกันดาร ห่างไกลความเจริญสู้วัดเขากระจิวไม่ได้เพราะใกล้ อ.ท่ายาง เมื่อเป็นเช่นนั้น หลวงพ่อตัด ท่านก็เลยรับนิมนต์เอง
ในปี พ.ศ.  ๒๕๐๕ หลวงพ่อตัด และพระสงฆ์อีก ๔ รูป ก็ได้มาจำพรรษา ณ ป่าช้าบ้านในดงเป็นพรรษาแรก พร้อมทั้งปลูกโรงมุงคาบ้าง สังกะสีบ้าง และแต่ใครถวายอะไรมาเพื่อเป็นกุฏิจำพรรษา ครั้งเมื่อท่านมาอยู่ใหม่ๆนั้น อุปสรรคในการสร้างวัดชายนาของ นั้นมีมากมายนัก แต่ท่านก็สามารถฝ่าฟันมาได้ ด้วยเพราะท่านมีความอดทน ความเพียรพยายาม และด้วยบุญบารมีที่ท่านได้สร้างสมมา จึงบังเกิดเป็นวัดชายนาที่เจริญรุ่งเรืองเพื่อสืบทอดพระพุทธศาสนา อย่างที่เราเห็นกันอยู่ทุกวันนี้
 
ลำดับเจ้าอาวาสวัดชายนา
อันดับที่ ๑    พระพุทธวิริยากร ( หลวงพ่อตัด ปวโร ) ตั้งแต่  ๒๕๐๕ - ๒๕๕๒
อันดับที่ ๒   พระครูสารธรรมนิเทศ ( พระอาจารย์ทิน วรจตฺโต ) ตั้งแต่ ๒๕๕๓  -  ปัจจุบัน